วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562

วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ 2562



บันทึกครั้งที่11

ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เรียนเกี่ยวกับ เด็กมีประสบการณ์ด้วยการลงมือทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5 นั้นคือการเล่น เพราะการเล่นคือวิธีการเรียนรู้ของเด็ก เมื่อการที่เด็กได้เล่นเด็กประสบการณ์จะถูกบันทึกและ Assimilate รับรู้ และส่งไปยังสมองความรู้เกิดการทับซ้อนกันเกิด Accomodation
ความรู้+ความจำ = การนำไปใช้จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงคือการเรียนรู้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
👉 การจำเพื่อใช้งานและเกิดประสิทธิภาพ (workking memmory) เป็นทักษะพื้นฐานของ EF
💿การสอนแบบ High scope เวลาเด็กทำศิลปะไม่ควรเร่งรีบเด็กในการทำกิจกรรมพอจะไปปิดกั้นการจินตนาการของเด็กได้
👉 การจัดประสบการณ์เสรี + การจัดศิลปะ
👉 การเล่นเป็นวิธีการเรียนรู้ ประสาทสัมผัสทั้ง 5
👉 ความรู้ที่ได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

👉 มุมที่ควรจัดในห้องเรียนพื้นฐาน มี 5 มุมพื้นฐาน ดังนี้
  1. มุมบล็อก
  2. มุมภาษา
  3. มุมนิทาน
  4. มุมของเล่น
  5. มุมศิลปะ
👉 พื้นที่ 5 ส่วนในการจัดห้องเรียนแบบไฮสโคป
  1. พื้นที่ครู
  2. พื้นที่กว้างๆ เช่น การเล่นกลุ่มใหญ่
  3. พื้นที่ส่วนตัวของเด็ก
  4. พื้นที่จัดกิจกรรมกลุ่มย่อยๆสำหรับทำศิลปะ 
  5. พื้นที่จัดมุมเสริมประสบการณ์
👉 3ประการ
  • Plan = การวางแผนว่าจะทำอะไร
  • Do = ลงมือทำตามแผน
  • Review = ทบทวน
👉 นักทฤษฎีที่สำคัญในหลักสูตรไฮสโคป
  • เพียเจย์
  • จอนห์ดิวอี้
  • อิริคสัน
  • ไวก็อตกี้
👉 การแก้ปัญหาแบบไฮสโคป
  • สงบจิตใจตนเอง
  • รับรู้อารมณ์ของเด็ก
  • ถามว่าเกิดอะไรขึ้น
  • จะทำอย่างไรกันดี
  • ลงมือทำตามแผนที่วางไว้





ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟัง เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังและให้ความร่วมมือทำกิจกรรม
ประเมินอาจารย์ผู้สอน : อาจารย์จินตนาอธิบายการสอนแบบไฮสโคปได้เข้าใจค่ะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น